ข่าวสาร-ประชาสัมพันธ์
ข่าวสาร-ประชาสัมพันธ์
“คณะกรรมการพัฒนาเพื่อความมั่นคง ในระดับพื้นที่ เขตทัพเรือภาคที่2”(พมพ.ทรภ2)

รู้สึกเป็นเกียรติที่ได้เข้าร่วมประชุมกับโคณะกรรมการพัฒนาเพื่อความมั่นคง ในระดับพื้นที่ เขตทัพเรือภาคที่2โ(พมพ.ทรภ2)และรู้สึกมีความหวังกับผลการประชุมที่ให้ความสำคัญกับ-การสร้างเครือข่าย ภาคราชการ ภาคเอกชนและภาคประชาชน มาช่วยกันขับเคลื่อนเรื่องความมั่นคง-การบูรณาการ-งาน-เงิน-คน-การมีฐานข้อมูล ตัวชี้วัด ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน-การติดตามประเมินผลโดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ-การคิดค้นนวัตก
กิจกรรมถอดบทเรียนโครงการสวนยางยั่งยืนสงขลา

กิจกรรมถอดบทเรียนโครงการสวนยางยั่งยืนสงขลาวันที่ 24 - 25 มิถุนายน 2565ณฐา ชัยเพชรบันทึกเรื่องราวขอบคุณภาพและข้อมูลจาก Facebookธรรมชาติ เพื่อชีวิตเชื่อมภาคีเครือข่ายสร้างการเรียนรู้ร่วมกัน จ.สงขลาสรุปบทเรียนโครงการ พรุสวน ควน คลอง สู่ตลาดอาหารปลอดภัย และ สวนยางยั่งยืนสสส. Songkhla Node flagship วันที่ 24-25 มิ.ย. 65 โรงแรมบุรีศรีภู ถ.ศรีภูวนารถ อ.หาดใหญ่ บทเรียน ภาคี
ภาคีเครือข่ายเยี่ยมเยียนชุมชนแหลมสนอ่อน เมืองบ่อยาง

วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565 เป็นอีก 1 วันและอีก 1 ความภาคภูมิใจ ของชาวชุมชนแหลมสนอ่อนที่ภาคภูมิใจในความเป็น " คนแหลมสนอ่อน" และ " คนเมืองบ่อยาง สงขลา" เมื่อ ดร.นพ. วิรุฬ ลิ้มสวาท ผู้อำนวยการสำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะทำงานที่เดินทางมาในพื้นที่ชุมชนแหลมสนอ่อน ได้บอกเล่าให้ภาคีเครือข่ายหลักของชุมชนคือ มูลนิธิชุมชนสงขลาและเทศบาลนครสงขลาโดยกองสาธารณสุขแ
"วงอาหารเช้า ร่วมพัฒนาธุรกิจเพื่อสังคม iMedCare"

"วงอาหารเช้า ร่วมพัฒนาธุรกิจเพื่อสังคม iMedCare"วันที่ 16 มิถุนายน 2565 จากที่ประชุมกรรมการมูลนิธิชุมชนสงขลา นำมาสู่การหารือตามวาระประจำปีที่จะทำเรื่องธุรกิจเพื่อสังคมให้เกิดความชัดเจน ดร.สมพร สิริโปราณานนท์ ในฐานะหัวหน้าทีมและกรรมการ ร่วมระดมความเห็น เบื้องต้นมีข้อสรุปดังนี้1.หลักการสำคัญ ธุรกิจเพื่อสังคม สนองตอบความยั่งยืน สามารถพึ่งตนเอง ของมูลนิธิชุมชนสงขลา แต่ไม่จำเป็นต้องดำเนินการโ
ร่วมแรงเปลี่ยนแปลงเมือง

ร่วมแรงเปลี่ยนแปลงเมืองโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง (Success) ได้รับความสนับสนุนจากสหภาพยุโรป(EU) เพื่อขับเคลื่อนขบวนภาคประชาสังคมในการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการทำงานผ่านมูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (TEI) ศูนย์ประชาสังคมและการจัดการองค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ (CSNM) และมูลนิธิชุมชนสงขลา (SCF)พื้นที่เป้าหมายในพื้นที่ภาคใต้และภาคอีสาน ภาคใต้ ๖ เมือง และภาคอีสาน ๖ เมื
ประชุมเพื่อปฎิบัติการพัฒนาและแก้ไขปัญหาคุณภาพชีวิตเมืองสงขลา

วันที่ 30 - 31 พฤษภาคม ชุมชนแหลมสนอ่อนพร้อมด้วยชุมชนเครือข่ายอีก 54 ชุมชน เทศบาลนครสงขลาจะมีการจัดประชุมเพื่อปฎิบัติการพัฒนาและแก้ไขปัญหาคุณภาพชีวิต สนับสนุนงบประมาณการจัดเวทีโดย สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช )วันที่ 30 พ.ค. กิจกรรมจัดที่ โรงแรมดาหลาวิลล์ เชิญนายอำเภอเมืองสงขลาเป็นประธานเปิดการประชุมคุณชาคริต โภชะเรือง มูลนิธิชุมชนสงขลา เป็นผู้ดำเนินรายการ กิจกรรมการปฎิบัติการ
“ทิศทางการพัฒนาจากภูมิภาคตะวันออกสู่ตะวันตก: ปัญหา ความท้าทายและแนวทางพัฒนาในโลกยุค(หลัง)โควิด-19”

งานเสวนาทางวิชาการในหัวข้อ โทิศทางการพัฒนาจากภูมิภาคตะวันออกสู่ตะวันตก: ปัญหา ความท้าทาย และแนวทางพัฒนาในโลกยุค (หลัง) โควิด - 19โวันศุกร์ ที่ 27 พฤษภาคม 2565 เวลา 08.30 - 17.30 น.ช่วงที่ 1 - กล่าวรายงาน, กล่าวเปิด, การปาฐกถาพิเศษ, การเสวนาวิชาการ หัวข้อ การพัฒนาภูมิภาคตะวันออกสู่ความยั่งยืนวิทยากร (08.30 - 12.15 น.)ชมคลิป
"ประชุมภาคีเครือข่ายวันพลเมืองสงขลา"

"ประชุมภาคีเครือข่ายวันพลเมืองสงขลา"วันที่ 3 พฤษภาคม 2565 ภาคีองค์กรความร่วมมือทั้งเก่าและใหม่ที่ทำงานร่วมกัน นัดหมายประชุมเพื่อร่วมกำหนดแนวทางดำเนินงานปี ๖๕ พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นสำคัญ โดยมีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น ๓๙ คนจาก ๓๐ กว่าองค์กร ณ ห้องประชุมอบต.ท่าข้าม๑.ทบทวนเป้าหมายการพัฒนา รวมถึงที่มาของการจัดกระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมที่ดำเนินการมาตั้งแต่ยุคที่ ๑ จนถึงยุคที่ ๕
มหากาพย์การรื้อถอนบ้านเรือนชุมชนแหลมสนอ่อน

ข้อมูลจากกลุ่มไลน์ กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ชุมชนแหลมสนอ่อน29 เมษายน 2565ขออนุญาตอธิบายเพื่อสร้างความเข้าใจในชุมชนตามที่ได้รับมอบหมายมาจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ในชุมชนส่วนที่ 1 ข้อมูลชุมชนแหลมสนอ่อน-จำนวนประชากร ประมาณ 211 คน(เดือนธันวาคม 2564)-จำนวน 59 หลังคาเรือนส่วนราชการได้ทำการคัดแยกลักษณะอาคาร ดังนี้1.จำนวน 7 หลังคาเรือน ถูกออกคำสั่งรื้อถอน2.จำนวน 52 หลังคา
"การเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพจากคลองบางแก้ว - คลองละงู - คลองสำโรง"

"การเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพจากคลองบางแก้ว-ละงู-คลองสำโรง"โครงการ SUCCESS ภาคใต้พบการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญจากเมืองที่ยังดำรงวิถีเกษตรมีพื้นที่สีเขียวมากอย่างพัทลุงเมืองรองที่มีฐานทรัพยากรธรรมชาติรองรับ สภาพน้ำในคลองสำคัญๆอย่างคลองบางแก้ว คลองลำปำ โดยเฉพาะพื้นที่ต้นน้ำยังมีความสะอาดสมบูรณ์ เช่นกันกับคลองละงู ต้นน้ำใช้ประโยชน์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศได้มากมากลางน้ำเริ่มมีน้ำเสียจากครัวเรือนเข้ามา
"SUCCESS เมืองโตนดด้วน"

"SUCCESS เมืองโตนดด้วน"ทีมกลางนำโดยดร.ผกามาศ ถิ่นพังงา และมูลนิธิชุมชนสงขลา นัดหมายทีมคณะทำงานโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมืองโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ลงพื้นที่พบหน่วยงานและเยี่ยมชมพื้นที่ชุมชนและความเป็นเมืองวันที่ 28 มิถุนายน 2565ภาคเช้า ลงพื้นที่ชุมชน ที่เป็นที่ต่ำพบปัญหาน้ำท่วมขัง สภาพพื้นที่เป็นชุมชนเกษตรกรรมเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์ ที่นาบางส่วนเปลี่ยนสภาพเป็นส
"SUCCESS ละงู"

"SUCCESS ละงู"ดร.ผกามาศ ถิ่นพังงา สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย มูลนิธิชุมชนสงขลา ร่วมลงพื้นที่เมืองละงู ภายใต้การดำเนินงานโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมืองในพื้นที่เมืองละงู จังหวัดสตูลวันที่ 26 มิย.เยี่ยมชมพื้นที่คลองละงู รวมไปถึงเขตอำเภอเมือง ชมสถานที่สำคัญทางศาสนาที่สะท้อนความเป็นพหุวัฒนธรรม และมีทุนทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย สมบูรณ์วันที่ 27 มิย. ภาคเช้า พบผู้บริหารอปท.มีนายกทต.ก
เครือข่ายพัฒนาเมืองสงขลานำเสนอข้อมูลที่ได้จากการสำรวจในระยะแรก

ทีมสำรวจข้อมูลชุมชนแหลมสนอ่อนเข้าร่วมประชุมและนำเสนอข้อมูลที่ได้จากการสำรวจในระยะแรกการประชุมครั้งนี้ (29 มิถุนายน) มีแกนนำ/ประธานชุมชนต่างๆ เขตเทศบาลนครสงขลา เข้าร่วมประมาณ 22 ชุมชนพอช.และภาคีเครือข่ายตั้งเป้าหมาย ที่จะร่วมกันแก้ไขปัญหาด้านที่อยู่อาศัยของคนเมืองบ่อยาง ให้ได้อย่างน้อย 44 ชุมชนสำหรับชุมชนแหลมสนอ่อน ได้รายงานต่อที่ประชุมว่า ชาวชุมชนส่วนใหญ่(ที่ให้ความร่วมมือในการสำรวจ) ยืนยันท
"BCG ระดับครัวเรือน"

"BCG ระดับครัวเรือน"วันอาทิตย์ 26 มิถุนายน 2565 ห้องเรียนสวนผักคนเมืองประจำเดือนมิถุนายน มาเยือนสวนเบญจพฤกษ์ ร่วมถอดบทเรียนการส่งเสริมการปลูกผักอินทรีย์ระดับครัวเรือนในเขตเมือง โดยมีกระบวนการดังนี้1.กำหนดแนวทางส่งเสริมครัวเรือนในเขตเมือง ตามแนวทางดังนี้1.1 รับสมัครผู้สนใจ ในพื้นที่เขตเมือง เน้่นรายใหม่1.2 ผู้สมัครวิเคราะห์สภาพแวดล้อม วัสดุใกล้ตัวที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ ลักษณะพื้นที่/ขนาดพ
ภาคีความร่วมมือเครือข่าย 4pw สงขลาและเครือข่ายเมือง SUCCESS กับศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใต้ฝั่งตะวันออก

วันที่ 24 มิถุนายน 2565 คุณสมภพ วิสุทธิศิริ นำทีมพยากรณ์ของศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใค้ฝั่งตะวันออก ประชุมร่วมกับมูลนิธิชุมชนสงขลา/4PW สงขลา ทำความเข้าใจความต้องการของชุมชนในโครงการ SUCCESS เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างศูนย์อุตุฯโครงการsuccess ภาคใต้และมูลนิธิชุมชนสงขลาได้แนวทางดังนี้1)จัดตั้งเครือข่ายเฝ้าระวังการเกิดภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศระดับชุมชนในพื้นที่เมืองบ่อยาง เมืองพะต
"Hatyai Care"

"Hatyai Care"วันที่ 23 มิถุนายน 2565 นัดทีมเล็ก จัดทำร่างแผนปฎิบัติการ 3 ปีของ 4 องค์กรความร่วมมือในพื้นที่ 10 ชุมชนริมทางรถไฟ ทน.หาดใหญ่ ประกอบด้วย ทน.หาดใหญ่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มูลนิธิชุมชนสงขลา และสมาคมอาสาสร้างสุข ณ ห้องประชุมสำนักงานมูลนิธิชุมชนสงขลาภายใต้ปัญหาสำคัญ ประกอบด้วยพื้นฐานการทำงานของชุมชน/ความสัมพันธ์ในชุมชน กรรมการชุมชน/แผนชุมชน ความต้องการวัสดุสิ้นเปลืองสำหรับผู้ป
โครงการพิทักษ์รักษาป่าต้นนำ้ผาดำเพื่อความยั่งยืนระบบนิเวศลุ่มนำ้ทะเลสาบสงขลา

โครงการ โพิทักษ์รักษาป่าต้นนำ้ผาดำเพื่อความยั่งยืนระบบนิเวศลุ่มนำ้ทะเลสาบสงขลาโสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสงขลา ร่วมกับมูลนิธิชุมชนสงขลา มูลนิธิอนุรักษ์ป่าต้นนำ้สงขลา เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมจิตอาสา โพิทักษ์รักษาป่าต้นนำ้ผาดำเพื่อความยั่งยืนระบบนิเวศลุ่มนำ้ทะเลสาบสงข