
"สวนผักคน(เมือง)พะตง"มูลนิธิชุมชนสงขลาส่งมอบปัจจัยการผลิตให้กับทีมอสม.พะตงกับชุมชนบ้านหลบมุม 36 คน ในการปลูกผักอินทรีย์เพื่อบริโภคในครัวเรือน ภายใต้โครงการบูรณาการสร้างสุขภาพอนามัยภาคประชาชนจังหวัดสงขลา ประจำปี 2566 ณ ศาลาเอนกประสงค์บ้านปลักเด อบต.พะตงโดยสนับสนุนตามความต้องการใน 4 กิจกรรม ได้แก่ การปลูกผัก การเลี้ยงไส้เดือน การทำปุ๋ยก้อน การเพาะต้นอ่อนชุดปลูกผักมีทั้งแบบมีสวนปลูกในแปลงและแบ

วันที่ 26 กันยายน 2566 ชาวสมาชิกชุมชนแหลมสนอ่อนร่วมกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพเพื่อร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ ลดอาการเจ็บป่วยจากโรคและป้องกันการป่วยเพิ่ม โดยมีทีมวิทยากรจากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสงขลา และได้ร่วมวางแผนการพัฒนาธุรกิจการจัดการขยะในชุมชนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านเศราฐกิจในชุมชนกับทีม WWF และทีมงานวงศ์วานิชย์บุณย์บังอร ชนะโชติ บันทึกเรื่องราว

"แผนสุขภาพรายบุคคล"อีกแนวทางใหม่ที่จะต่อยอดงานของชุมชนของมูลนิธิชุมชนสงขลา นั้่นคือการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิของชุมชนเมือง โดยนำร่องที่ชุมชนแหลมสนอ่อน ทน.สงขลา ใช้ Platform iMed@home ระบบกลุ่ม(ซึ่งยังมีการใช้งานกันไม่มากนัก)ในการเสริมหนุนการทำงานระหว่างชุมชน หน่วยบริการ โดยเน้นแนวคิดประชาชนมีส่วนร่วม เป็นเจ้าของและเข้าถึงข้อมูลสุขภาพและจัดการตนเองด้านสุขภาพมากขึ้นเริ่มจากการกำหนดเป้าหมายร่วม ผล

"ชุมชนแหลมสนอ่อนกับการรับมือความเสี่ยงด้านสุขภาพ"วันที่ 20 กันยายน 2566 นักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสงขลา 8 คนที่มาฝึกงาน ณ ชุมชนแหลมสนอ่อน ร่วมกับเครือข่าย PCU สมิหลา อสม. แกนนำชุมชน และมูลนิธิชุมชนสงขลา จัดเวทีประชาคมเพื่อคืนข้อมูลจากการลงสำรวจสถานะสุขภาพระดับบุคคลใน 51 ครัวเรือน เมื่อวันที่ 15-17 กันยายนที่ผ่านมา ได้ข้อมูลประชากรวัยเกิน 35 ปีมาจำนวน 100 คน โดยมีแกนนำชุมชน อสม. PCU สมิหลา

ผีเสื้อขยับปีก 11 "สมัชชาพลเมืองสงขลา"
เรียบเรียงโดย ชาคริต โภชะเรือง และอภิศักดิ์ ทัศนี
สนับสนุนการจัดทำโดย องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา

"iMedCare อำเภอเมืองสงขลา"วันที่ 16 กันยายน 2566 มูลนิธิชุมชนสงขลานัดแกนนำ HCG หรือผู้ดูแลที่บ้านในพื้นที่อำเภอเมืองที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน มาทำความเข้าใจแนวทางการจัดบริการผ่าน Platform iMedCare ณ ห้องประชุมมูลนิธิชุมชนสงขลาพร้อมกับผู้ประสานงานพื้นที่อำเภอสะเดา อำเภอหาดใหญ่ มาร่วมแลกเปลี่ยน โดยมีดร.แสงอรุณ อิสระมาลัย ในฐานะผู้พัฒนาหลักสูตรร่วมให้ข้อเสนอแนะทีมงานได้รับท

"ภาคีพลเมืองสงขลาจับมือจัดสมัชชาชูแนวคิด โหุ้นส่วนการพัฒนาโ หา พ.ว.ก. ในการพัฒนาสงขลา"เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2566 ภาคีพลเมืองสงขลากว่า 20 องค์กรร่วมกันจัดงานสมัชชาพลเมืองสงขลา ประจำปี 2566 โดยการสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลาและสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ(สช.) ประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 141 แห่ง หน่วยงานราชการ มหาวิทยาลัย และภาคีเครือข่ายในพื้นที่จำนวน 200 คนร่วมกันรับฟังผ

"ห้องเรียนสวนผักคนเมืองวาระพิเศษ"วันที่ 8 กันยายน 2566 ห้องเรียนสวนผักคนเมืองมูลนิธิชุมชนสงขลา เปิดพิเศษให้กับทีมอสม.ตำบลพะตงและชุมชนบ้านหลบมุม ตำบลพะตง รวมถึงทีมงานสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ร่วม 60 ชีวิตมาเรียนรู้ ณ สวนเบญจพฤกษ์ ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการปลูกผักสวนครัว การใช้ประโยชน์จากขยะเปียกและวัสดุเหลือใช้ในชุมชนมาใช้ประโยชน์สวนเบญจพฤกษ์ เป็นแหล่งเรีย

"ข้อมูลกลางคนสงขลา วางเป้า 1 ID 1 OneStop Service"วันที่ 4 กันยายน 2566 กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดสงขลา อบจ.สงขลา มูลนิธิชุมชนสงขลา จัดประชุมภาคีความร่วมมือที่ได้ MOU ในการพัฒนาระบบข้อมูลกลางคนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยที่รอการฟื้นฟู เมื่อกุมภาพันธ์ 2564 ที่ผ่านมา ณ ห้องประชุมชั้น 2 ศูนย์บริบาลผู้สูงอายุอบจ.สงขลานางฐิตารีย์ เชื้อพราหมณ์ รักษาการผอ.กองสาธารณสุข อบจ.สงขลา กล่าวถึงความเป็นมา แนวคิ

"บทเรียนจาก 15 ปี ธรรมนูญสุขภาพภาคใต้"1-2 กันยายน 2566 เครือข่ายที่ดำเนินการธรรมนูญสุขภาพตำบลในพื้นที่ภาคใต้มาร่วมแลกเปลี่ยนบทเรียนการดำเนินงานกัน ณ บ้านช่องฟืน อ.ปากพะยูน จ.พัทลุงโดยมีสนง.คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ(สช.)สนับสนุนการดำเนินงานประกอบด้วยพื้นที่ดำเนินการธรรมนูญเชิงพื้นที่ซึ่งเป็นต้นแบบ ได้แก่ ทต.ชะแล้(แห่งแรก ปี 2552) อบต.นาทอน ร่วมแลกเปลี่ยนกับพื้นที่ดำเนินการใหม่ ที่มีทั้งธรรมนูญ