
"เมืองสตูล"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองฝั่งลุ่มน้ำมำบัง มีทม.สตูลเป็นพี่ใหญ่ ที่นี่รองรับปัญหาขยะที่มาจากต้นน้ำผ่านมาทางเมืองรวมถึงน้ำจากต้นน้ำอีกด้วย การจัดการขยะเป็นปัญหาใหญ่อันเนื่องจากที่ฝังกลบใกล้เต็ม ซึ่งก็เป็นปัญหาหลักของท้องถิ่นในปัจจุบัน ขณะที่ทางเลือกในรูปแบบโครงการขนาดใหญ่เช่นนำขยะไปแปลงเป็นพลังงานก็ถูกต่อต้าน โครงการจำพวกสร้างสำนึกและเปลี่ยนพฤติกรรมก็ทำได้ยาก ทางน้ำเดิมก็ถูกทำลาย เปลี

"เมืองปาดังเบซาร์"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองปาดังแปลว่าทุ่งใหญ่ มีอาณาเขตติดกับมาเลเซียจัดเป็น "เมืองชายแดน" ที่มีบริบทเฉพาะตัว มีความเป็นพหุวัฒนธรรม กล่าวคือ มีทั้งไทย จีน มุสลิม ประกอบด้วย ๒ อปท.ในส่วนของทม.ปาดังเบซาร์มีพื้นที่ ๑๑.๒๒ ตารางกิโลเมตร ประชากรไม่มากนัก ด้วยเป็นเมืองปิด ผู้คนทำมาค้าขายเป็นหลัก อดีตเคยรุ่งเรืองจากการขนของหนีภาษี แต่ปัจจุบันอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่าน คนจีนจำนวนหนึ่งหลัง

"เมืองพะตง"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองพื้นที่นโยบายระดับเมือง มีตั้งแต่เมืองใหญ่ระดับจังหวัด เช่น เมืองขอนแก่น ภูเก็ต แล้วก็มีเมืองขนาดเล็ก ขนาดกลาง มีได้หลายระดับ สอดคล้องกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป มิได้มีแต่พื้นที่ตามขอบเขตการปกครองของมหาดไทย ด้วยสภาพปัญหาที่มากระทบหรือศักยภาพของพื้นที่ มีได้หลากหลาย"เมืองพะตง" รวมหมายถึงทต.พะตงและอบต.พะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พื้นที่แห่งนี้ยังมีทั้งห

"หลักสูตรนานาชาติ"วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ โครงการฝึกภาคสนามในต่างประเทศ หลักสูตรศิลปศาสตร์ สาขาการพัฒนาระหว่างประเทศ ม.จุฬา นำนักศึกษาต่างชาติ ป.โท ป.เอก จำนวน๒๑ ชีวิต จากเยอรมัน เกาหลี ญี่ปุ่น พม่า เวียดนาม มาเลเซีย อินเดีย มาดูงานมูลนิธิชุมชนสงขลา ร่วมแลกเปลี่ยนบทเรียนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมของพื้นที่ จ.สงขลา โดยมีคุณชิต ประธานมูลนิธิชุมชนสงขลามาต้อนรับและคุณสมพรมาร่วมนำเสนอ

สถาบันสิ่งแวดล้อมไทยร่วมกับมูลนิธิชุมชนสงขลา ดำเนินงานโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อการเปลี่ยนแปลงเมือง(Strengthening urban climate governance for inclusive, resilient and sustainable societies in Thailand) หรือเรียกง่ายๆว่า โครงการSUCCESS ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจากสหภาพยุโรปวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ นัดประชุมสร้างความร่วมมือกับนักวิชาการใน ๖ สถาบันหลักของภาคใต้๑.แนะนำโครงการ ที่มุ่งเน้นการดำ

มูลนิธิชุมชนสงขลา พัฒนาศักยภาพแกนนำเครือข่ายตำบลภายใต้โครงการบูรณาการสร้างสุขภาพอนามัยภาคประชาชนที่ได้รับการสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา ร่วมนำเสนอแนวทางกิจกรรมที่จะต่อยอดงานธรรมนูญตำบลน่าอยู่ตอบสนองเป้าหมายวิสัยทัศน์สงขลา ๒๕๗๐ ดังนี้๑)ด้านสังคมเป็นสุข-ทต.ท่าช้าง ตั้งใจทำเรื่องธนาคารเวลา เพื่อดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง และประสบปัญหาสุขภาพจิตไม่สามารถอยู่ร่วมในสังคม โดยให้

"สวนป้าเถี้ยน"ห้องเรียนสวนผักคนเมืองหาดใหญ่สัญจรประจำเดือนมกราคม จัดทัวร์สุขภาพลงเยี่ยมแปลงสวนป้าเถี่ยน ม.๙ ต.คูเต่า สมาชิกเครือข่ายเกษตรสุขภาพจังหวัดสงขลา เป็นอีกหนึ่งแปลงที่ได้รับใบรับรอง SGS-PGSป้าเถี้ยนและไก่-ลูกชาย เป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรอินทรีย์คูเต่า รวมตัวกันปลูกผักอินทรีย์มาหลายปี ปู-วัลลภแกนนำเล่าว่าต.คูเต่าอยู่ปลายน้ำของลุ่มน้ำอู่ตะเภา ที่มีอุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากร ผัก ผลไม้(ส้มโอ อ้อ

"จากตลาดกรีนโซนไปสู่ south story ของดีชายแดนใต้และกรีนสมาย"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองกว่า ๒ ปีที่ตลาดกรีนเวย์ บริษัทประชารัฐฯสงขลา มูลนิธิชุมชนสงขลา เครือข่ายเกษตรอินทรีย์สงขลา พัฒนาชุมชน เกษตรและสหกรณ์ และเครือข่ายอีกจำนวนมากที่ไม่อาจเอ่ยถึงได้หมด ร่วมกันเปิดตลาดกรีนโซน@กรีนเวย์ หวังเป็นช่องทางสนับสนุนเกษตรกรให้มีพื้นที่จำหน่ายผลผลิตดีๆ และผู้บริโภคในเมืองมีทางเลือกมากขึ้น แล้วก็ถึงวันของการเป

"วิจัยและสร้างนวัตกรรมพัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ"เขียนโดย ชาคริต โภชะเรืองอีกความเคลื่อนไหวทางสายวิชาการที่ถูกปรับการทำงานให้แตกต่างจากเดิมสำนักวิจัยและพัฒนา มอ.ชวนไปร่วมเสนอแนะการทำกรอบงานวิจัย ตามโจทย์ใน Platform ๔ "วิจัยและสร้างนวัตกรรมพัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ" โปรแกรม ๑๓ : นวัตกรรมสำหรับเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนนวัตกรรม โดยมอ.แต่ละวิทยาเขตเป็นเจ้าภาพร่วมกับเครือข่ายต่างๆ

"ผักสลัดของคุณเล็ก"คุณเล็ก จงกลณี สมาชิกสวนผักคนเมืองหาดใหญ่ใช้เวลายามว่างเปลี่ยนพื้นที่ว่างข้างบ้านมาเป็นสวนไม้ประดับและไม้ประแดก ปลูกผักหลากหลายแซมกับไม้ดอก สร้างสวนสวยไว้เป็นอาหารตาและอาหารปากลดขยะในครัวเรือนแถมพกไปถึงขยะในตลาดนำมาเป็นวัสดุในการทำปุ๋ย ทำน้ำหนัก แล้วทั้งหมดนี้ก็แปรรูปออกมาเป็นสวนผักอินทรีย์ชานเมืองรอบนี้คุณเล็กปลูกผักสลัด ใช้กระเบื้องมาวางเป็นแปลงผักแบบยกพื้น ปลูกสลัดลงในก